บ่นอีกแล้วงับทุกท่าน ไม่รู้มันไม่มีอะไรเขียนรึอย่างไร..
เรื่่องของเรื่องมันคงมีอยู่แต่ว่า คิดบ้าอะไรขึ้นมาก็ไม่รู้ คว้าเอาไฟล์ ass-specs ซึ่งเป็นไฟล์ Help ของ Medusa ที่มีบอกข้อมูลต่างๆรวมไปถึงโคด ของสคริปต์ ASS ที่เอาไว้ทำซัปไตเติล อันเป็นภาษาอังกฤษล้วนๆมา กะว่าจะแปลไทย ทั้งๆที่ตัวเองก็ไม่ได้เก่งเลย แถมไม่เคยทำอะไรสำเร็จอีกต่างหาก = ="
แต่ก็เอาเถอะนะ ครึ่งวัน มันแปลไปได้หน่อยนึง ก็ไม่ยากเท่าไหร่หรอก แต่ไม่รู้ว่าคน(ทั้งคนอื่นและตัวเอง) จะอ่านรู้เรื่องรึไม่?
นี่คือตัวอย่างที่แปลได้ทั้งหมด
5. Style Lines, [v4+ Styles] section
Styles define the appearance and position of subtitles. All styles used by the script are are defined by a Style line in the script.
Any of the the settings in the Style, (except shadow/outline type and depth) can overridden by control codes in the subtitle text.
The fields which appear in each Style definition line are named in a special line with the line type “Format:”. The Format line must appear before any Styles - because it defines how SSA will interpret the Style definition lines. The field names listed in the format line must be correctly spelled! The fields are as follows:
Name, Fontname, Fontsize, PrimaryColour, SecondaryColour, TertiaryColour, BackColour, Bold, Italic, Underline, StrikeOut, ScaleX, ScaleY, Spacing, Angle, BorderStyle, Outline, Shadow, Alignment, MarginL, MarginR, MarginV, AlphaLevel, Encoding
The format line allows new fields to be added to the script format in future, and yet allow old versions of the software to read the fields it recognises - even if the field order is changed.
Field 1: Name. The name of the Style. Case sensitive. Cannot include commas.
Field 2: Fontname. The fontname as used by Windows. Case-sensitive.
Field 3: Fontsize.
Field 4: PrimaryColour. A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR
This is the colour that a subtitle will normally appear in.
Field 5: SecondaryColour. A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR
This colour may be used instead of the Primary colour when a subtitle is automatically shifted to prevent an onscreen collsion, to distinguish the different subtitles.
Field 6: OutlineColor (TertiaryColour). A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR
This colour may be used instead of the Primary or Secondary colour when a subtitle is automatically shifted to prevent an onscreen collsion, to distinguish the different subtitles.
Field 7: BackColour. This is the colour of the subtitle outline or shadow, if these are used. A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR.
Field 4-7: The color format contains the alpha channel, too. (AABBGGRR)
Field 8: Bold. This defines whether text is bold (true) or not (false). -1 is True, 0 is False. This is independant of the Italic attribute - you can have have text which is both bold and italic.
Field 9: Italic. This defines whether text is italic (true) or not (false). -1 is True, 0 is False. This is independant of the bold attribute - you can have have text which is both bold and italic.
Field 9.1: Underline. [-1 or 0]
Field 9.2: Strikeout. [-1 or 0]
Field 9.3: ScaleX. Modifies the width of the font. [percent]
Field 9.4: ScaleY. Modifies the height of the font. [percent]
Field 9.5: Spacing. Extra space between characters. [pixels]
Field 9.6: Angle. The origin of the rotation is defined by the alignment. Can be a floating point number. [degrees]
Field 10: BorderStyle. 1=Outline + drop shadow, 3=Opaque box
Field 11: Outline. If BorderStyle is 1, then this specifies the width of the outline around the text, in pixels.
Values may be 0, 1, 2, 3 or 4.
Field 12: Shadow. If BorderStyle is 1, then this specifies the depth of the drop shadow behind the text, in pixels. Values may be 0, 1, 2, 3 or 4. Drop shadow is always used in addition to an outline - SSA will force an outline of 1 pixel if no outline width is given.
----------------------------------------------------------------------
5. บรรทัด Style<สไตล์ = รูปแบบ> (สำหรับเวอร์ชัน 4 ขึ้นไป)
สไตล์เป็นตัวกำหนดลักษณะและตำแหน่งของซัป สไตล์ที่ใช้ในสคริปต์ทั้งหมดจะถูกกำหนดโดยบรรทัดสไตล์ในสคริปต์
การปรับแต่งใดๆก็ตามแต่ในสไตล์ (ยกเว้น เงา, outline<ส่วนสีๆที่เกินขอบตัวอักษรออกมา> และ Depth<ไม่แน่ใจว่า เป็น ความลึก ความละเอียด หรือความเข้มข้นอะไร>) สามารถถูกลบล้างโดยโคดที่อยู่ในซัปได้
ส่วนต่างๆที่อยู่ในแต่ละบรรทัดสไตล์ได้ถูกตั้งให้เป็นบรรทัดพิเศษ โดยเป็นบรรทัดประเภท "Format" <ฟอร์แมท = รูปแบบการจัดการ> บรรทัดฟอร์แมทนั้นจะต้องอยู่ก่อนสไตล์ ใดๆ เพราะมันจะเป็นตัวกำหนดว่า SSA จะสามารถเข้าใจบรรทัดกำหนดสไตล์ นั้นได้อย่างไร โดยที่ชื่อของแต่ละส่วนในบรรทัดฟอร์แมทนั้นจะต้องสะกดอย่างถูกต้องดังต่อไปนี้
Name, Fontname, Fontsize, PrimaryColour, SecondaryColour, TertiaryColour, BackColour, Bold, Italic, Underline, StrikeOut, ScaleX, ScaleY, Spacing, Angle, BorderStyle, Outline, Shadow, Alignment, MarginL, MarginR, MarginV, AlphaLevel, Encoding
<หมายเหตุ: ย่อหน้านี้เราแปลแล้วเข้าใจว่า 'ในส่วนของการกำหนดสไตล์นั้น จะต้องมีบรรทัดพิเศษที่เรียกว่าฟอร์แมทขึ้นมาก่อนเสมอ เพราะมันจะเป็นสื่อกลางที่คอยบอกตัว SSA ว่าอะไรเป็นอะไร โดยที่ชื่อต่างๆในบรรทัดฟอร์แมทนั้นจะต้องเขียนถูกต้องตามรูปแบบเสมอ'>
เราสามารถเพิ่มส่วนต่างๆเข้าไปในบรรทัดฟอร์แมทได้<ในกรณีที่มันรองรับนะ> และก็ยังอนุญาตให้โปรแกรมเวอร์ชันเก่าเลือกอ่านเฉพาะที่เข้าใจได้ หรือกระทั่งจะจัดเรียงลำดับเสียใหม่ก็ได้
ส่วนที่ 1: Name - ชื่อของสไตล์ ห้ามมีสัญลักษณ์ , (คอมม่าหรือลูกน้ำ) อักษรตัวใหญ่ตัวเล็กถือว่าแตกต่างกัน <ระวังด้วย เวลาเอาไปใช้ต้องเขียนให้ถูกล่ะ>
ส่วนที่ 2: Fontname - ชื่อฟอนต์(Font = รูปแบบอักษร) แบบที่เห็นและใช้ในวินโดวส์ อักษรตัวใหญ่หรือเล็กแตกต่างกัน
ส่วนที่ 3: Fontsize - ขนาดฟอนต์
ส่วนที่ 4-7 - จะเป็นชุดตัวเลขฐาน16ที่บ่งบอกความเข้มของแม่สีทั้งสามคือ แดง เขียว น้ำเงิน <คนละสีกับในงานศิลปะนะ> และความโปร่งใส ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วก็จะได้เป็นสีที่เราต้องการออกมา โดยจะอยู่ในรูปแบบ #H[ความโปร่งใส][น้ำเงิน][เขียว][แดง]
- เรื่องสี ถ้าความเข้มเป็น0 เท่ากับไม่มีสีนั้น แต่ถ้าแม่สีทั้งสามความเข้มเป็น0หมด จะเท่ากับสีดำ แต่หากทุกสีมีเข้มสูงสุด(อยู่ที่255)เหมือนกันหมด จะเท่ากับสีขาว
- ความโปร่งใส หากเป็น 0 จะไม่โปร่งใสเลยแม้แต่นิดเดียว
- เลขฐาน16 มันจะไม่เหมือนเลขที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน คือมันจะมี 0-9 แล้วก็โดดขึ้น A ซึ่งมีค่าเท่ากับ 10 ไล่ไปจนถึง F ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 15 แล้วจึงขึ้นหลักใหม่ เช่น 1F จะมีค่า 10+15(หลักสิบ บวกกับหลักหน่วยที่มีค่าเท่ากับสิบห้า) เท่ากับ 25 FF จะมีค่า 150+15 เท่ากับ 165 เป็นต้น>
ส่วนที่ 4: PrimaryColour - สีหลักของซัป
ส่วนที่ 5: SecondaryColour - สีรองที่ใช้แทนสีหลักเพื่อแบ่งแยกความแตกต่าง เมื่อซัปประโยคหนึ่งถูกยกขึ้นไปอยู่ด้านบนเพื่อป้องกันไม่ให้ชนกันกับอีกประโยค
ส่วนที่ 6: TertiaryColour <เห็นเขาใช้ OutlineColor แทนได้> - เหมือนส่วนที่ 5 แต่รองลงมาอีก
ส่วนที่ 7: BackColour - สีของเงา หรือ outline
ส่วนที่ 8: Bold - กำหนดเป็น -1 = เป็นตัวหนา | 0 = ไม่ใช่ตัวหนา
ส่วนที่ 9: Italic - กำหนดเป็น -1 = เป็นตัวเอียง | 0 = ไม่ใช่ตัวเอียง
ส่วนที่ 9.1: Underline - กำหนดเป็น -1 = ขีดเส้นใต้ | 0 = ไม่ขีดเส้นใต้
ส่วนที่ 9.2: Strikeout - กำหนดเป็น -1 = ขีดฆ่า | 0 = ไม่ขีดฆ่า
ส่วนที่ 9.3: ScaleX - เปลี่ยนแปลงความกว้างของฟอนต์ (%)
ส่วนที่ 9.4: ScaleY - เปลี่ยนแปลงความสูงของฟอนต์ (%)
ส่วนที่ 9.5: Spacing - เพิ่มช่องว่างระหว่างตัวอักษร (ช่องไฟ) (pixel)
ส่วนที่ 9.6: Angle - หมุนตามมุม (องศา) จุดศูนย์กลางของการหมุนจะถูกกำหนดตามการจัดวาง อาจเป็นจุดหมายเลขที่ล่องลอย..
ส่วนที่ 10: BorderStyle - กำหนดเป็น 1 = Outline + เงา | 0 = เป็นกล่องทึบ
ส่วนที่ 11: Outline - ถ้าส่วนที่ 10 กำหนดเป็น 1 ส่วนตรงนี้จะกำหนดค่าความหนาของสีที่เกินออกมานอกตัวอักษร มีตั้งแต่ 1-4 (เป็น pixel)
ส่วนที่ 12: Shadow - เหมือนส่วนที่ 11 แต่เป็นการกำหนดความเข้มข้นของเงาที่ตกลงหลังตัวอักษร นอกจากนี้ การลงเงามักจะใช้เป็นส่วนเพิ่มเติมจาก Outline ฉะนั้นเมื่อไม่ได้กำหนด Outline ไว้ก่อน ตัว SSA จะกำหนดให้เป็น 1 โดยอัตโนมัติ
Styles define the appearance and position of subtitles. All styles used by the script are are defined by a Style line in the script.
Any of the the settings in the Style, (except shadow/outline type and depth) can overridden by control codes in the subtitle text.
The fields which appear in each Style definition line are named in a special line with the line type “Format:”. The Format line must appear before any Styles - because it defines how SSA will interpret the Style definition lines. The field names listed in the format line must be correctly spelled! The fields are as follows:
Name, Fontname, Fontsize, PrimaryColour, SecondaryColour, TertiaryColour, BackColour, Bold, Italic, Underline, StrikeOut, ScaleX, ScaleY, Spacing, Angle, BorderStyle, Outline, Shadow, Alignment, MarginL, MarginR, MarginV, AlphaLevel, Encoding
The format line allows new fields to be added to the script format in future, and yet allow old versions of the software to read the fields it recognises - even if the field order is changed.
Field 1: Name. The name of the Style. Case sensitive. Cannot include commas.
Field 2: Fontname. The fontname as used by Windows. Case-sensitive.
Field 3: Fontsize.
Field 4: PrimaryColour. A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR
This is the colour that a subtitle will normally appear in.
Field 5: SecondaryColour. A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR
This colour may be used instead of the Primary colour when a subtitle is automatically shifted to prevent an onscreen collsion, to distinguish the different subtitles.
Field 6: OutlineColor (TertiaryColour). A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR
This colour may be used instead of the Primary or Secondary colour when a subtitle is automatically shifted to prevent an onscreen collsion, to distinguish the different subtitles.
Field 7: BackColour. This is the colour of the subtitle outline or shadow, if these are used. A long integer BGR (blue-green-red) value. ie. the byte order in the hexadecimal equivelent of this number is BBGGRR.
Field 4-7: The color format contains the alpha channel, too. (AABBGGRR)
Field 8: Bold. This defines whether text is bold (true) or not (false). -1 is True, 0 is False. This is independant of the Italic attribute - you can have have text which is both bold and italic.
Field 9: Italic. This defines whether text is italic (true) or not (false). -1 is True, 0 is False. This is independant of the bold attribute - you can have have text which is both bold and italic.
Field 9.1: Underline. [-1 or 0]
Field 9.2: Strikeout. [-1 or 0]
Field 9.3: ScaleX. Modifies the width of the font. [percent]
Field 9.4: ScaleY. Modifies the height of the font. [percent]
Field 9.5: Spacing. Extra space between characters. [pixels]
Field 9.6: Angle. The origin of the rotation is defined by the alignment. Can be a floating point number. [degrees]
Field 10: BorderStyle. 1=Outline + drop shadow, 3=Opaque box
Field 11: Outline. If BorderStyle is 1, then this specifies the width of the outline around the text, in pixels.
Values may be 0, 1, 2, 3 or 4.
Field 12: Shadow. If BorderStyle is 1, then this specifies the depth of the drop shadow behind the text, in pixels. Values may be 0, 1, 2, 3 or 4. Drop shadow is always used in addition to an outline - SSA will force an outline of 1 pixel if no outline width is given.
5. บรรทัด Style<สไตล์ = รูปแบบ> (สำหรับเวอร์ชัน 4 ขึ้นไป)
สไตล์เป็นตัวกำหนดลักษณะและตำแหน่งของซัป สไตล์ที่ใช้ในสคริปต์ทั้งหมดจะถูกกำหนดโดยบรรทัดสไตล์ในสคริปต์
การปรับแต่งใดๆก็ตามแต่ในสไตล์ (ยกเว้น เงา, outline<ส่วนสีๆที่เกินขอบตัวอักษรออกมา> และ Depth<ไม่แน่ใจว่า เป็น ความลึก ความละเอียด หรือความเข้มข้นอะไร>) สามารถถูกลบล้างโดยโคดที่อยู่ในซัปได้
ส่วนต่างๆที่อยู่ในแต่ละบรรทัดสไตล์ได้ถูกตั้งให้เป็นบรรทัดพิเศษ โดยเป็นบรรทัดประเภท "Format" <ฟอร์แมท = รูปแบบการจัดการ> บรรทัดฟอร์แมทนั้นจะต้องอยู่ก่อนสไตล์ ใดๆ เพราะมันจะเป็นตัวกำหนดว่า SSA จะสามารถเข้าใจบรรทัดกำหนดสไตล์ นั้นได้อย่างไร โดยที่ชื่อของแต่ละส่วนในบรรทัดฟอร์แมทนั้นจะต้องสะกดอย่างถูกต้องดังต่อไปนี้
Name, Fontname, Fontsize, PrimaryColour, SecondaryColour, TertiaryColour, BackColour, Bold, Italic, Underline, StrikeOut, ScaleX, ScaleY, Spacing, Angle, BorderStyle, Outline, Shadow, Alignment, MarginL, MarginR, MarginV, AlphaLevel, Encoding
<หมายเหตุ: ย่อหน้านี้เราแปลแล้วเข้าใจว่า 'ในส่วนของการกำหนดสไตล์นั้น จะต้องมีบรรทัดพิเศษที่เรียกว่าฟอร์แมทขึ้นมาก่อนเสมอ เพราะมันจะเป็นสื่อกลางที่คอยบอกตัว SSA ว่าอะไรเป็นอะไร โดยที่ชื่อต่างๆในบรรทัดฟอร์แมทนั้นจะต้องเขียนถูกต้องตามรูปแบบเสมอ'>
เราสามารถเพิ่มส่วนต่างๆเข้าไปในบรรทัดฟอร์แมทได้<ในกรณีที่มันรองรับนะ> และก็ยังอนุญาตให้โปรแกรมเวอร์ชันเก่าเลือกอ่านเฉพาะที่เข้าใจได้ หรือกระทั่งจะจัดเรียงลำดับเสียใหม่ก็ได้
ส่วนที่ 1: Name - ชื่อของสไตล์ ห้ามมีสัญลักษณ์ , (คอมม่าหรือลูกน้ำ) อักษรตัวใหญ่ตัวเล็กถือว่าแตกต่างกัน <ระวังด้วย เวลาเอาไปใช้ต้องเขียนให้ถูกล่ะ>
ส่วนที่ 2: Fontname - ชื่อฟอนต์(Font = รูปแบบอักษร) แบบที่เห็นและใช้ในวินโดวส์ อักษรตัวใหญ่หรือเล็กแตกต่างกัน
ส่วนที่ 3: Fontsize - ขนาดฟอนต์
ส่วนที่ 4-7 - จะเป็นชุดตัวเลขฐาน16ที่บ่งบอกความเข้มของแม่สีทั้งสามคือ แดง เขียว น้ำเงิน <คนละสีกับในงานศิลปะนะ> และความโปร่งใส ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วก็จะได้เป็นสีที่เราต้องการออกมา โดยจะอยู่ในรูปแบบ #H[ความโปร่งใส][น้ำเงิน][เขียว][แดง]
- เรื่องสี ถ้าความเข้มเป็น0 เท่ากับไม่มีสีนั้น แต่ถ้าแม่สีทั้งสามความเข้มเป็น0หมด จะเท่ากับสีดำ แต่หากทุกสีมีเข้มสูงสุด(อยู่ที่255)เหมือนกันหมด จะเท่ากับสีขาว
- ความโปร่งใส หากเป็น 0 จะไม่โปร่งใสเลยแม้แต่นิดเดียว
- เลขฐาน16 มันจะไม่เหมือนเลขที่เราใช้กันอยู่ในชีวิตประจำวัน คือมันจะมี 0-9 แล้วก็โดดขึ้น A ซึ่งมีค่าเท่ากับ 10 ไล่ไปจนถึง F ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 15 แล้วจึงขึ้นหลักใหม่ เช่น 1F จะมีค่า 10+15(หลักสิบ บวกกับหลักหน่วยที่มีค่าเท่ากับสิบห้า) เท่ากับ 25 FF จะมีค่า 150+15 เท่ากับ 165 เป็นต้น>
ส่วนที่ 4: PrimaryColour - สีหลักของซัป
ส่วนที่ 5: SecondaryColour - สีรองที่ใช้แทนสีหลักเพื่อแบ่งแยกความแตกต่าง เมื่อซัปประโยคหนึ่งถูกยกขึ้นไปอยู่ด้านบนเพื่อป้องกันไม่ให้ชนกันกับอีกประโยค
ส่วนที่ 6: TertiaryColour <เห็นเขาใช้ OutlineColor แทนได้> - เหมือนส่วนที่ 5 แต่รองลงมาอีก
ส่วนที่ 7: BackColour - สีของเงา หรือ outline
ส่วนที่ 8: Bold - กำหนดเป็น -1 = เป็นตัวหนา | 0 = ไม่ใช่ตัวหนา
ส่วนที่ 9: Italic - กำหนดเป็น -1 = เป็นตัวเอียง | 0 = ไม่ใช่ตัวเอียง
ส่วนที่ 9.1: Underline - กำหนดเป็น -1 = ขีดเส้นใต้ | 0 = ไม่ขีดเส้นใต้
ส่วนที่ 9.2: Strikeout - กำหนดเป็น -1 = ขีดฆ่า | 0 = ไม่ขีดฆ่า
ส่วนที่ 9.3: ScaleX - เปลี่ยนแปลงความกว้างของฟอนต์ (%)
ส่วนที่ 9.4: ScaleY - เปลี่ยนแปลงความสูงของฟอนต์ (%)
ส่วนที่ 9.5: Spacing - เพิ่มช่องว่างระหว่างตัวอักษร (ช่องไฟ) (pixel)
ส่วนที่ 9.6: Angle - หมุนตามมุม (องศา) จุดศูนย์กลางของการหมุนจะถูกกำหนดตามการจัดวาง อาจเป็นจุดหมายเลขที่ล่องลอย..
ส่วนที่ 10: BorderStyle - กำหนดเป็น 1 = Outline + เงา | 0 = เป็นกล่องทึบ
ส่วนที่ 11: Outline - ถ้าส่วนที่ 10 กำหนดเป็น 1 ส่วนตรงนี้จะกำหนดค่าความหนาของสีที่เกินออกมานอกตัวอักษร มีตั้งแต่ 1-4 (เป็น pixel)
ส่วนที่ 12: Shadow - เหมือนส่วนที่ 11 แต่เป็นการกำหนดความเข้มข้นของเงาที่ตกลงหลังตัวอักษร นอกจากนี้ การลงเงามักจะใช้เป็นส่วนเพิ่มเติมจาก Outline ฉะนั้นเมื่อไม่ได้กำหนด Outline ไว้ก่อน ตัว SSA จะกำหนดให้เป็น 1 โดยอัตโนมัติ
เป็นอย่างไรบ้าง ใช้ได้ไหม? อ่านรู้เรื่องรึเปล่า?
No comments:
Post a Comment